เทียบเบอร์ไตรแอค หลักการพื้นฐานเทียบสเปคไตรแอค ( Triac )

หลักการพื้นฐานเทียบสเปคไตรแอค  ( Triac )  

ไตรแอคเป็นอุปกรณ์ที่นำกระแสค้างได้  สั่งให้ ON ผ่านขา G  แต่ไม่สามารถสั่งให้ OFF ผ่านขา G ได้  วิธีการให้ไตรแอคหยุดนำกระแสต้องใช้วงจรอีกชุดควบคุมกระแสและแรงดันที่ขา A1 และ A2  ค่าพารามิเตอร์หรือสเปคทางไฟฟ้าของไตรแอคมีจำนวนมาก ให้เริ่มพิจารณาจากค่าที่สำคัญที่สุดให้ผ่านก่อนเพื่อดูความเป็นไปได้ว่าจะมีโอกาสใช้แทนเบอร์เดิมได้แค่ไหน   หลักๆให้พิจารณาค่ากระแส  แรงดัน  ระยะเวลานำกระแสและหยุดนำกระแส   ( Turn   ON  and  Turn OFF time )  นอกจากนี้ให้ดูค่า di/dt อัตราการเปลี่ยนแปลงกระแส  และ dv/dt อัตราการเปลียนแปลงแรงดัน  2 ค่าสุดท้ายนี้ต้องใช้ค่าเท่าเดิมหรือมากกว่าได้  ถ้าใช้ค่าน้อยกว่ามันจะทนกระแสและแรงดันไม่ได้มีโอกาสเสียหายสูงมากหรือเสียง่าย


เทียบเบอร์ ไตรแอค   Triac




ค่าพารามิเตอร์ทางไฟ้ฟาที่สำคัญและต้องเช็คเป็นอันดับแรก ให้ดูค่าเหล่านี้ให้ผ่านก่อน

V(DRM)       Repetive peak  off-state voltage
V(RRM)       Repetive peak reverse voltage
 I  T(AV)       Mean on-state current
 I  T(RMS)    Nominal  RMS  on-state  current  , max forward current 
 I (H)             Holding current 
 V(GT)          Gate trigger voltage
 I(GT)           Gate triger  current
 t(gt)              Turn on time
 t(rr)               Reverse  recovery  time.
 t(q)               Turn of  time



วิธีวัดไดโอดบริดจ์  อย่างรวดเร็ว            





เลือกหัวข้อ อ่านต่อ

อ่านค่า   R   4  แถบสี

อ่านค่า  R    5  แถบสี

ต่อ คาปาซิเตอร์  C  อนุกรม  และ ขนาน
สูตร  วงจรอนุกรม  วงจรขนาน   กฏการแบ่งกระแส   และ กฏการแบ่งแรงดัน


วัด SCR และไทริสเตอร์มอดูล


วัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง


อ่านค่าเบอร์วาริสเตอร์  ( Varistor )

และหัวข้ออื่นๆ อีกมาก   ให้ดูที่รายการหัวข้อด้านข้าง   หรือ เลื่อนหน้าด้านล่าง  >  เพื่อดูหัวข้อถัดไป


อ่านเพิ่ม    หัวข้ออื่นๆ